Classic Home2023-03-19T20:18:28+07:00

สมาคมพฤติกรรมศาสตร์

Behavioral Science Association

เรื่องราว สาระ ข่าวสาร
ล่าสุดของสมาคม

เรื่องราว สาระ ข่าวสาร ตลอดจนกิจกรรมความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของสมาคมล่าสุด

ร่างทรง ความเชื่อ ศรัทธา และพิธีกรรม “ทางเดินคู่ขนานร่างกายและจิตใจ”

November 1st, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.20 เสาร์ 30 กันยายน 2564 กับหัวข้อ ร่างทรง ความเชื่อ ศรัทธา และพิธีกรรม "ทางเดินคู่ขนานร่างกายและจิตใจ” Speaker: 1. ศิววุฒ

การสร้างเครือข่ายการพัฒนาวัยรุ่น

September 30th, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.16 เสาร์ 25 กันยายน 2564 กับหัวข้อ “การสร้างเครือข่ายการพัฒนาวัยรุ่น” Speaker: 1. ดร.จิราภรณ์ เรืองยิ่ง (อ.จันทร์เจ้า) ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2.

การสอนกับพฤติกรรมการเรียนรู้ ของ Gen Z

September 19th, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.15 เสาร์ 18 กันยายน 2564 กับหัวข้อ “การสอนกับพฤติกรรมการเรียนรู้ ของ Gen Z” Speaker: 1.อ.ดร.นัชชิมา บาเกาะ (อ.มะฮฺ)​​ คณะครุศาสตร์

“BATTLING” ที่สังคมไทยอยากฟัง

September 11th, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.14 เสาร์ 11 กันยายน 2564 กับหัวข้อ “BATTLING” ที่สังคมไทยอยากฟัง Speaker: 1. อ.ดร.ยุคลวัชร์ ภักดีจักริวุฒิ์ (อ.ปิ๊ก) อาจารย์ประจำ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม

ความคาดหวังของสังคมต่อพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บังคับใช้กฎหมาย

September 4th, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.13 เสาร์ 4 กันยายน 2564 กับหัวข้อ “ความคาดหวังของสังคมต่อพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บังคับใช้กฎหมาย” เป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับผู้ที่มีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทั้ง 3 ท่าน ซึ่งได้แก่ 1. ท่านสุรจิตร ศรีบุญมา รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญามีนบุรี

Behavior Medicine ต้านโควิด

August 15th, 2021|ResearchTalk, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

สรุปสาระสำคัญจาก Research Talk: Ep.11 เสาร์ 14 สิงหาคม 2564 กับหัวข้อ “Behavior Medicine ต้านโควิด” เป็นการพูดคุยกับคุณหมอผู้เชียวชาญทั้ง 3 ท่านที่มีความถนัดในแต่ละด้านที่แตกต่างกันทั้งทางด้านจิต ด้านบริการสังคม ด้านสุขภาพกาย ซึ่งได้แก่ 1. ผศ.ดร.นพ.สุธีร์

พฤติกรรมศาสตร์จากประสบการณ์

Behavioral Science Research Method

RESEARCH GAP ช่องว่างของการวิจัย (คลิปการบรรยาย)

July 15th, 2022|Knowledge Tank|

วิดีโอบันทึกการบรรยายออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM Meeting หัวข้อ: “RESEARCH GAP ช่องว่างของการวิจัย” ในโครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตด้านการทำปริญญานิพนธ์ ปีการศึกษา 2564 บรรยายโดย รศ.ดุษฎี อินทรประเสริฐ นายกสมาคมพฤติกรรมศาสตร์ ให้กับนิสิตหลักสูตร วท.ม. และ

ตัวแปรปรับ และ ตัวแปรแทรก

July 17th, 2022|Behavioral Science Research Method, Knowledge Tank, จิตวิทยาประยุกต์, พฤติกรรมศาสตร์|

ตัวแปรปรับ (moderator variable) และ ตัวแปรแทรก (mediator variable) คืออะไร ต่างกันอย่างไร ความสำคัญทางพฤติกรรมศาสตร์ และตัวอย่าง เรื่องที่คนมักสงสัย 1. คืออะไร ต่างกันอย่างไร ตัวแปรแทรก คือ ตัวแปรที่อยู่ระหว่างตัวแปร

พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม

สมาคมพฤติกรรมศาสตร์มุ่งผสานความร่วมมือ เพื่อสร้างผลงานวิจัย กิจกรรม และองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม

RESEARCH TALK

เป็นกิจกรรมที่สมาคมได้จัดขึ้นโดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ในประเด็นต่าง ๆ ตามหัวข้อของแต่ละสัปดาห์ มาร่วมพูดคุยผ่านแอปพลิเคชัน Clubhouse ทุกเย็นวันเสาร์ เวลาหนึ่งทุ่มเป็นต้นไป

RESEARCH TALK: EP.5

Ai กับงานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์

ปัจจุบันระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือที่เราเรียกว่า Ai มีความก้าวหน้าถึงไหน งานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์จะได้ประโยชน์จากการมีอยู่ของ Ai จะใช้ประโยชน์อย่างไร หรือ กำลังจะถูก Ai แทนที่ มาร่วมพูดคุยหาคำตอบกันจากมุมมองของนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ พบกันใน Clubhouse เสาร์ 3 กรกฎาคม 64 เวลาเดิม 19.00 น. เป็นต้นไป

RESEARCH TALK: EP.4

เราจะทำวิจัยโดยใช้ Social media เป็นเครื่องมือกันได้อย่างไร

การใช้พลังของ Social media มาเป็นเครื่องมือในการเสริมหนุนการทำวิจัยของนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ จากมุมมองของนักวิจัยทั้ง 4 ท่านซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ Social media เป็นเครื่องมือในการทำวิจัย

จดหมายเหตุสมาคมพฤติกรรมศาสตร์ No.1

มติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ครั้งที่ 1/2564 วันที่ 19 มีนาคม 2564 ขอให้กรรมการและสมาชิกร่วมกันเสนอ ธีม (theme) การประชุมวิชาการประจำปี 2564 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจที่ตรงกันในประเด็นนี้ รศ.ดร.วินัย ดำสุวรรณ นายกสมาคม ได้จัดทำเอกสารที่มีสาระเกี่ยวกับธีม เพื่อส่งต่อถึงคณะกรรมการและสมาชิก
ดังนั้น
สมาคมจึงได้นำเอกสารมาจัดทำเป็นเรื่องบันทึกในจดหมายเหตุสมาคมพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อใช้งานในปัจจุบันและอ้างอิงในโอกาสต่อไป

Download

เราเห็นบางอย่างที่เราคิดว่ามันไม่ถูกต้อง หรือรู้สึกไม่ยุติธรรม เราต้องการจะเปลี่ยน แต่เราไม่มีอำนาจที่จะเปลี่ยน
การทำงานวิจัยแบบ CPAR จะช่วยมอบพลังเพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งนั้นให้เรา

รศ.ดร.ดุษฎี อินทรประเสริฐ

ไม่ตัดสิน ไม่ตีตรา ไม่ด่วนสรุป คือ คาถาประจำใจที่สำคัญของนักวิจัยเชิงคุณภาพ

ผศ.ดร.ฐาศุกร์ จันประเสริฐ

มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ

สมาคมพฤติกรรมศาสตร์

Go to Top